ว่าที่ร.ต.ปรเมษฐ์ คีรีเมฆ

ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด
  1,039
  1,321

-  File 1
-  File 2
-  File 3
-  File 4
-  File 5
-  File 6
-  File 7
-  File 8
-  File 9
-  File 10
ชื่อเรื่อง :  การแต่งกายชาวภูไท
คำอธิบาย :  การแต่งกาย\\\\\\\\ผู้ชายนิยมนุ่งกางเกงขาก๊วย สีดำหรือนุ่งโสร่งตาหมากรุก เสื้อใช้ผ้าสีครามหรือดำชนิดเดียวกับกางเกง สวมเสื้อคอกลมแคบชิดคอหรือคอจีน ตัวเสื้อผ่าอกตลอด ชายเสื้อผ่าข้าง จะเป็นแขนยาวหรือแขนสั้นก็ได้ มีผ้าคาดเอว และโพกศีรษะ ผู้ชายโบราณมักนิยมสักแขนขา ลายด้วย หมึกสีดำ แดง ถือเป็นเครื่องรางและแสดงออกถึงความเป็นชายชาตรี\\\\\\\\ผู้หญิง นิยมนุ่งผ้าซิ่นที่ทำจากผ้า ซึ่งลักษณะเด่นของซิ่นภูไท คือ การทอและลวดลายเช่น ทอเป็นลายนาคเล็กๆ นอกจากนี้มีลายอื่น ๆ เช่น หมี่ปลา หมี่กระจัง หมี่ข้อ หมี่ขอ ทำเป็นหมี่คั่นหรือหมี่ลวด ต่อด้วยหัวซิ่นและตีนซิ่นทั้งขิดและจก นอกจากนี้ยังพบผ้ามัดหมี่ฝ้ายสีขาวสลับดำย้อมใบครามหรือมะเกลือสีดำ เย็บต่อด้วยหัวซิ่นตีนซิ่น
คำสำคัญ :   -
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :   ว่าที่ร.ต.ปรเมษฐ์ คีรีเมฆ
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ครู / อาจารย์, นักเรียน / นักศึกษา, ทั่วไป, ผู้ปกครอง
ระดับชั้น :   ปฐมวัย, ประถมศึกษาปีที่ 1 (ป. 1), ประถมศึกษาปีที่ 2 (ป. 2), ประถมศึกษาปีที่ 3 (ป. 3), ประถมศึกษาปีที่ 4 (ป. 4), ประถมศึกษาปีที่ 5 (ป. 5), ประถมศึกษาปีที่ 6 (ป. 6), มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
สาขาวิชาของสื่อ :   สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ลักษณะของสื่อ :   กรณีศึกษา, Full Course, ข้อมูลปฐมภูมิ , Software, Poster
ผลงานทั้งหมด
11
ผู้เข้าชม
1,945
ดาวน์โหลด
8,140
ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด 5 อันดับ
การแต่งกายชาวภูไท 1,039
อุทยานแห่งชาติน้ำพอง 109
วัดถ้ำผาเกิ้ง 105
หมอแคน 104
หมอลำ 89

ผลงาน 5 อันดับล่าสุด
นักศึกษาจีนฝึกประสบการณ์งานห้องสมุด 23 สิงหาคม 2567
นำชมสำนักหอสมุด 23 สิงหาคม 2567
park&pick; 23 สิงหาคม 2567
หมอลำ 23 สิงหาคม 2567
หมอแคน 23 สิงหาคม 2567
ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด 5 อันดับ
จำนวนข้อมูลจำแนกตามระดับชั้น
จำนวนข้อมูลจำแนกตามประเภทบุคคล