สมพร แลไธสง

ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด
  320     937

-  File 1
-  File 2
-  File 3
-  File 4
-  File 5
-  File 6
-  File 7
-  File 8
-  File 9
-  File 10
-  File 11
ชื่อเรื่อง :  มาลัยไหว้พระ
คำอธิบาย :  ชื่อภูมิปัญญามาลัยไหว้พระ\\\\สถานที่ 203 บ้านหนองโข่ย ตำบลท่าพระ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40260\\\\\\\\ข้อมูลเจ้าของภูมิปัญญา นางพิน ขาวเมืองน้อย รูปภาพ\\\\ชื่อเจ้าของภูมิปัญญา นางยุพิน ขาวเมืองน้อย \\\\ที่อยู่ 203 บ้านหนองโข่ย ตำบล ท่าพระ อำเภอ เมือง จังหวัดขอนแก่น 40260 \\\\อาชีพ 68 อายุการศึกษาภูมิปัญญา .......30........ปี \\\\\\\\ชื่อภูมิปัญญา มาลัยไหว้พระ \\\\ประวัติข้อมูลภูมิปัญญา \\\\ประวัติความเป็นมาของเจ้าของภูมิปัญญา\\\\นางยุพิน ขาวเมืองน้อยได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้การร้อยมาลัยจากเพื่อนภรรยาทหารของสามี คือสมัยก่อนเพื่อนคุณยายยุพินเขาเป็นคนชอบทำมาลัยไหว้พระเองเป็นทุนเดิมอยู่แล้วและเมื่อคุณยายยินได้เห็นวิธีการร้อยพวงมาลัยของเขาคุณยายก็เกิดความชอบ และได้ขอเรียนกับเพื่อนส่วนมากดอกไม้ที่คุณยายนำมาร้อยก็จะมีอยู่ด้วยกัน 2 แบบคือ 1 ดอกพุทธใหญ่ 2.ดอกมะลิ คุณยายได้มีการพัฒนาฝีมือมาเรื่อยๆจนมีความชำนาญและส่วนงามมากยิ่งขึ้นคุณยายเลยหั่นมาทำเป็นธุระกิจขายดอกไม้ชื่อ ร้านเจ๊หงส์ดอกไม้สด จากเดิมเป็นร้านเล็กอยู่ที่ตลาดสดเทศบาลนครขอนแก่น ในตัวเมืองเมืองจังหวัดขอนแก่น แต่ปัจจุบันนี้กิจการของคุณยายก็ได้ขยายจนใหญ่โตขึ้นมากกว่าเดิมเป็นเท่าตัว ปัจจุบันนี้บุตรชายคนที่ 3 ของคุณยายได้มารับช่วงทำกิจการนี้ต่อจากคุณยายเนื่องจากปัจจุบันนี้คุณยายก็อายุมากขึ้นแล้ว (นางยุพิน ขาวเมืองน้อย, ตุลาคม 2560:สัมภาษณ์)\\\\\\\\กำหนดความรู้/แสวงหาความรู้ (ภายใน/ภายนอก)\\\\คุณยายยุพิน ขาวเมืองน้อยได้รับการสืบทอดภูมิปัญญามาจาก เพื่อนสามีและหลังจากนั้นก็ได้นำกลับมาฝึกเพิ่มเติมเองที่บ้านโดยการลองผิดถูกจนเกิดความชำนาญ และได้นำไปสร้างเป็นอาชีพจนถึงทุกวันนี้และปัจจุบันนี้กิจการของคุณยายก็ได้มีลูกชายคนที่3 ได้รับการถ่ายทอดภูมิปํญญาต่อจากคุณยายโดยลูกชายของคุณยายได้รับการถ่ายทอดจากคุณยายโดยการจดจำจาก คุณยายมาตั้งแต่ยังเด็กเมื่อโตขึ้นเรียนจบก็ได้มารับช่วงกิจการต่อจากคุณยายเป็นรุ่นที่2ร้านดอกไม้สดเจ๊หหงษ์ตั้งอยู่ที่ตลาดสดเทศบาล1 ตำบาลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น\\\\(นางยุพิน ขาวเมืองน้อย, ตุลาคม 2560:สัมภาษณ์)\\\\ \\\\\\\\\\\\\\\\การสร้างความรู้ (ขั้นตอน/วิธีการการสร้างภูมิปัญญา)\\\\ \\\\อุปกรณ์\\\\1.เข็มร้อยมาลัย เบอร์12-14 (เข็มต้องเป็นเข็มสแตนเลส) ราคา เล็มล่ะ 15 บาท\\\\2.เชือกฟาง 1 ห่อ ต้องนำมาชีกเป็นเส้นเล็กประมาณ 2ซม. ราคาม้วนล่ะ 10 บาท\\\\3. เม็ดโฟม ขนาด 0.5 มิลลิกรัม ราคาถุงล่ะ 50 บาท\\\\4. ดอกลักเทียมเบอร์กลาง ราคาถุงล่ะ 100 บาท\\\\ขั้นตอนที่ 1 เก็บดอกมะลิและดอกพุทธ\\\\ \\\\ขั้นตอนที่2 นำมาร้อยเป็นพวง\\\\ \\\\\\\\ขั้นตอนที่3 ดึงดอกไม้ที่ร้อยเสร็จแล้วเข้าเป็นคู่ \\\\ \\\\ขั้นตอนที่ 4 นำดอกไม้ที่ร้อยเข้าคู่เสร็จแล้วนำมาเข้าอุปะเพื่อตกแต่งให้สวยงามดังภาพ\\\\ \\\\วิธีการทำ (อธิบายเพิ่มเติม)\\\\1. เก็บดอกพุทธต้องเก็บในตอนเช้า ส่วนดอกมะลิต้องเก็บในตอนเที่ยงเพราะมันจะบานพอดีแต่ถ้าดอกไม้ที่เก็บมายังไม่ร้อยให้เอาใส่ถุงแล้วดูดอากาศออกให้หมด ห่อด้วยกระดาษหนังสือพิมพ์แล้วนำไปแช่ในตู้เย็น\\\\2.การเลือกดอกไม้ต้องเลือกดอกที่ไม่ช้ำมาร้อยและเลือกดอกที่ไม่บานจนเกินไปมาร้อยลักษณะของดอกต้องเป็นสีขางไม่ขุ่นจนเกินไป\\\\3. สุดท้ายเมื่อทำการร้อยเป็นพวงเสร็จก็ต้องมาทำการตกแต่งอุบะให้สวยงามโดยมีวิธีการทำดังนี้\\\\วิธีการทำอุบะ\\\\อุบะเป็นส่วนประกอบหนึ่งของพวงมาลัย ซึ่งมีส่วนประกอบหลัก ดังนี้\\\\1.มัดกลีบกุหลาบเป็นดอกข่า\\\\2.แกะดอกรักให้ได้ขนาดไล่ตามลำดับจากใหญ่ไปเล็ก 5 ดอก\\\\3. ร้อยอุบะตามลำดับ ดอกข่า หมวก ดอกรัก 5 ดอก\\\\ได้ตามรูปแล้วก็นำมาผูกกับมาลัยพวงใหญ่ที่เตรียมไว้\\\\\\\\\\\\\\\\อุบะมาลัยหมายถึง\\\\อุบะ(ชว. อุบะก์) พวงดอกไม้, เป็นชื่อของพวงดอกไม้อย่างหนึ่งที่ประดิษฐ์เป็นพวงสำหรับห้อยหรือทัดหู.\\\\\\\\การจัดเก็บและการค้นคืนความรู้ (การจดจำ/เอกสาร/ฐานข้อมูล)\\\\คุณยายยุพิน ขาวเมืองน้อยได้รับการสืบทอดภูมิปัญญามาจาก เพื่อนสามีและหลังจากนั้นก็ได้นำกลับมาฝึกเพิ่มเติมเองที่บ้านโดยการลองผิดถูกจนเกิดความชำนาญ และได้นำไปสร้างเป็นอาชีพจนถึงทุกวันนี้\\\\\\\\การถ่ายทอดความรู้และการใช้ประโยชน์ (ซึมซับไว้กับตนเอง หรือ เผยความรู้ให้แก่องค์กร)\\\\-การถ่ายทอดภูมิปัญญาโดยอาศัยหลักการจำจดเอง คือได้มีการฝึกทำและทดลองทำอยู่ทุกวันจนเกิดความเคยชิ้นสุดท้ายก็เกิดเป็นผลงานที่มีประสิทธิภาพขึ้น\\\\\\\\พิกัด (สถานที่)\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\ \\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\ข้อมูลผู้ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ปีการศึกษา 2560\\\\ชื่อผู้ศึกษา นางสมพร แลไธสง รูปผู้ศึกษา\\\\หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู (ป.บัณฑิต) รุ่น 4 \\\\รายวิชา ความเป็นครู (800 5201) \\\\เน้นศึกษา ครูกับการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น \\\\คณะ ศึกษาศาสตร์ \\\\สถานที่ศึกษา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\\\\สถานที่ทำงาน โรงเรียนบ้านดอนหันวิทยาสาร\\\\อาจารย์ผู้สอน\\\\1 รองศาสตราจารย์ สำเร็จ คำโมง (ครูภูมิปัญญาไทย, ศิลปินมรดกอีสาน)\\\\2 อาจารย์ ดร.พา อักษรเสือ\\\\3 อาจารย์ ดร.ธีรภัทร โคตรบรรเทา\\\\4 อาจารย์ สุชาดา ลดาวัลย์\\\\5 อาจารย์ อัจฉริยะ วงษ์คำซาว\\\\6 อาจารย์ บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย\\\\https://youtu.be/SD7-xIzi6_g\\\\\\\\https://youtu.be/-7giFLfTg60
คำสำคัญ :   มาลัยไหว้พระ, การร้อยมาลัย, พวงมาลัย, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :   พิน ขาวเมืองน้อย
เจ้าของผลงานร่วม :   สมพร แลไธสง, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ครู / อาจารย์, นักเรียน / นักศึกษา, ทั่วไป, ผู้ปกครอง
ระดับชั้น :   ประถมศึกษาปีที่ 1 (ป. 1), ประถมศึกษาปีที่ 2 (ป. 2), ประถมศึกษาปีที่ 3 (ป. 3), ประถมศึกษาปีที่ 4 (ป. 4), ประถมศึกษาปีที่ 5 (ป. 5), ประถมศึกษาปีที่ 6 (ป. 6), มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
สาขาวิชาของสื่อ :   การงานอาชีพและเทคโนโลยี, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม, ศิลปะ
ลักษณะของสื่อ :   ข้อมูลปฐมภูมิ , ใบงาน, รูปภาพ, VDO Clip
ผลงานทั้งหมด
2
ผู้เข้าชม
403
ดาวน์โหลด
1,616
ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด 5 อันดับ
มาลัยไหว้พระ 320
ข้าวต้มมัดขนมไทยพื้นบ้านวิถีแห่งภูมิปัญญา 79

ผลงาน 5 อันดับล่าสุด
ข้าวต้มมัดขนมไทยพื้นบ้านวิถีแห่งภูมิปัญญา 27 มีนาคม 2562
มาลัยไหว้พระ 26 มีนาคม 2562
ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด 5 อันดับ
จำนวนข้อมูลจำแนกตามระดับชั้น
จำนวนข้อมูลจำแนกตามประเภทบุคคล