ปวีณา วูดไซด์ คราวเลย์

ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด
  175     1,514

-  File 1
-  File 2
-  File 3
-  File 4
-  File 5
-  File 6
-  File 7
-  File 8
-  File 9
-  File 10
-  File 11
-  File 12
ชื่อเรื่อง :  การทำปลาส้ม
คำอธิบาย :  ภูมิปัญญาท้องถิ่นปลาส้ม\บ้านหนองกุงเซิน ต.หนองกุงเซิน อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น\ข้อมูลเจ้าของภูมิปัญญา \ชื่อเจ้าของภูมิปัญญา แม่นีปลาส้ม \ที่อยู่ บ้านหนองกุงเซิน ตำบลหนองกุงเซิน อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น\ \อาชีพ ทำปลาส้ม อายุการศึกษาภูมิปัญญา ๒๓ ปี \ชื่อภูมิปัญญา ปลาส้ม\ประวัติความเป็นมา การกำเนิดจักรสาน(ตะกร้า)\ แม่นี ชาวบ้านหนองกุงเซินได้มีการทำปลาส้มมายาวนาน เนื่องจากบริเวรนี้ติดกับแหล่งน้ำ จึงมีชาวบ้านบางกลุ่มที่มีอาชีพหาปลา เมื่อปลาเยอะจึงเกิดการแปรรูปอาหาร เริ่มจากผลิตเพียงเล็กน้อยจนถึงระดับที่ทำขายส่ง ปัจจุบันทำให้แม่นีมีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักของชาวบ้าน หมู่บ้านใกล้เคียง และแพร่หลายไปสู่หลายพื้นที่\วัสดุอุปกรณ์ในการจักรสาน (ตะกร้า)\๑. กะละมัง ๕. ปลาตะเพียน\๒. ถังพลาสติก ๖. ข้าวเหนียวนึ่งสุก\๓. ถุง ๗. เกลือ กระเทียม\๔. ยางรัดถุง ๘. ผงปรุงรส\ขั้นตอนการจักรสาน(ตะกร้า)\ขั้นตอนที่๑. นำปลาตะเพียน มาล้างทำความสะอาด ผ่าท้องควักไส้ ขอดเกล็ดออกให้หมด แล้วล้างอีกรอบให้สะอาด\ \ขั้นตอนที่ ๒. นำปลาที่ได้มาสับเป็นชิ้นเล็กๆ\ \ขั้นตอนที่ ๓. เมื่อสับจนได้ชิ้นเล็กๆ แล้ว ก็ในมาปรุงรส โดยใส่กระเทียม เกลือ ข้าวเหนียวนึ่งสุกและผงปรุงรสตามลำดับ\ \\ขั้นตอนที่ ๔. คลุกเคล้าจนเข้าเนื้อและนำมาปั้นเป็นก้อน จากนั้นก็ห่อใบตองและห่อใส่ถุงพลาสตกแล้วใช้ยางรัดถุงอีกทีเพื่อความสะอาด เป็นอันเสร็จเรียบร้อย \ \การจัดเก็บและการค้นคืนความรู้ \วัตถุดิบ : ปลาตะเพียน \ระยะเวลาที่สร้างสรรค์ : จำนวน ๑๐๐ ห่อ ต่อ ๑ วัน\กลุ่มผู้บริโภค : คนทั่วไป และแม่ค้าตลาดสด\ราคาห่อละ : ๑๐ บาท ขายส่งให้แม่ค้า ๑๒ - ๑๔ ห่อ / ๑๐๐ บาท\การถ่ายทอดความรู้และการใช้ประโยชน์\ การทำปลาส้มของแม่นีนั้นการจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนในชุมชมสิ่งมีจุดประสงค์เพื่อการถนอมอาหารให้คงทนอยู่ได้นาน ในปัจจุบันเป้าหมายการทำปลาส้มแม่นีได้ถ่ายถอดไปยังลูกชายเพื่อสืบทอดไป และสำหรับนักเรียนนักศึกษาที่สนใจเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งก็มีนักเรียน นักศึกษาได้ไปศึกษาเรียนรู้ภูมิปัญญานี้ด้วย ทั้งนี้ก็ยังเป็นรายได้เสริมให้กับครอบครัว\พิกัด (สถานที่)\\\\\\\\\\\\\ข้อมูลผู้ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ปีการศึกษา 2560\ชื่อผู้ศึกษา นางปวีณา วูดไซด์ คราวเลย์ \หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู(ป.บัณฑิต) รุ่น 4 \รายวิชา ความเป็นครู (800 5201) \เน้นศึกษา ครูกับการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น \คณะ ศึกษาศาสตร์ \สถานที่ศึกษา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\สถานที่ทำงาน โรงเรียนอนุบาลพัฒนาเด็กศรีวิสุทธิ์\อาจารย์ผู้สอน\1 รองศาสตราจารย์ สำเร็จ คำโมง(ครูภูมิปัญญาไทย, ศิลปินมรดกอีสาน)\2 อาจารย์ ดร.พา อักษรเสือ\3 อาจารย์ ดร.ธีรภัทร โคตรบรรเทา\4 อาจารย์ สุชาดา ลดาวัลย์\5 อาจารย์ อัจฉริยะ วงษ์คำซาว\6 อาจารย์ บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย
คำสำคัญ :   การทำปลาส้ม, ปลาสัม, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, การถนอมอาหาร, อาหารที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคพยาธิ, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :   แม่นีปลาส้ม
เจ้าของผลงานร่วม :   ปวีณา วูดไซด์ คราวเลย์, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ทั่วไป
ระดับชั้น :   มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
สาขาวิชาของสื่อ :   สุขศึกษาและพลศึกษา, การงานอาชีพและเทคโนโลยี, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ลักษณะของสื่อ :   ข้อมูลปฐมภูมิ , ใบงาน, รูปภาพ
ผลงานทั้งหมด
1
ผู้เข้าชม
177
ดาวน์โหลด
1,514
ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด 5 อันดับ
การทำปลาส้ม 175

ผลงาน 5 อันดับล่าสุด
การทำปลาส้ม 26 มีนาคม 2562
ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด 5 อันดับ
จำนวนข้อมูลจำแนกตามระดับชั้น
จำนวนข้อมูลจำแนกตามประเภทบุคคล
ผลงานทั้งหมด   
#    ชื่อเรื่อง    ผู้เข้าชม    ดาวน์โหลด #
1 การทำปลาส้ม 175 1,514