ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา

ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด
  798     308

-  File 1
ชื่อเรื่อง :  การปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นตามกระบวนทัศน์แห่งการบริหารกิจการสาธารณะแนวใหม่
คำอธิบาย :  รายงานการวิจัยเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อ 1. ศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจของประชาชนทุกภาคส่วนในความสำคัญและบทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. ศึกษาสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางด้านเศรษฐกิจและการคลังท้องถิ่นในประเทศ 3. ศึกษากลไกการแสดงความรับผิดชอบเชิงบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 4. สังเคราะห์แนวทางการปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นที่ต้องอยู่บนหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนและหลักความเป็นอิสระในการปกครองตนเองของชุมชนท้องถิ่น
คำสำคัญ :   การปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น, การปกครองท้องถิ่น, การบริหารกิจการสาธารณะ, การกระจายอำนาจ, นโยบายสาธารณะ, การบริการสาธารณะท้องถิ่น, บทบาทหน้าที่พลเมือง, การกระจายอำนาจด้านการคลัง, การกระจายอำนาจด้านการเมือง, การกระจายอำนาจด้านการบริหาร, การแสดงความรับผิดชอบเชิงบริหาร
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :   วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เจ้าของผลงานร่วม :   ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ, ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์, พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์, ลิลี่ โกศัยยานนท์, หควณ ชูเพ็ญ, ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ครู / อาจารย์, นักเรียน / นักศึกษา, ทั่วไป, ผู้ปกครอง
ระดับชั้น :   ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, การศึกษาตามอัธยาศัย
สาขาวิชาของสื่อ :   สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ลักษณะของสื่อ :   Textbooks
ผลงานทั้งหมด
4
ผู้เข้าชม
2,138
ดาวน์โหลด
2,278
ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด 5 อันดับ
การปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นตามกระบวนทัศน์แห่งการบริหารกิจการสาธารณะแนวใหม่ 798
ศักยภาพและความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชนในการจัดการสุขภาพ 513
สถานการณ์การเสี่ยงโชคของคนไทย การวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสังคม 373
พัฒนาการการบริหารภาครัฐของไทย จากอดีตสู่อนาคต 357

ผลงาน 5 อันดับล่าสุด
สถานการณ์การเสี่ยงโชคของคนไทย การวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสังคม 11 มีนาคม 2563
พัฒนาการการบริหารภาครัฐของไทย จากอดีตสู่อนาคต 11 มีนาคม 2563
ศักยภาพและความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชนในการจัดการสุขภาพ 10 มีนาคม 2563
การปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นตามกระบวนทัศน์แห่งการบริหารกิจการสาธารณะแนวใหม่ 10 มีนาคม 2563
ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด 5 อันดับ
จำนวนข้อมูลจำแนกตามระดับชั้น
จำนวนข้อมูลจำแนกตามประเภทบุคคล