การทอเสื่อกก และเสื่อพลาสติก
157
931
การทอเสื่อกก และเสื่อพลาสติก ได้รับใบอนุญาตภายใต้ ให้เผยแพร่-ดัดแปลง-โดยต้องระบุที่มาแต่ห้ามใช้เพื่อการค้า 3.0 Thailand.
แสดงในรูปแบบ e-book
- เล่มที่ 1 |
ชื่อเรื่อง : การทอเสื่อกก และเสื่อพลาสติก |
ชื่อเรื่อง :
{{setMessages['title']}}
|
คำอธิบาย : ข้อมูลเจ้าของภูมิปัญญา \n\nชื่อเจ้าของภูมิปัญญา นางสาคร ก้อนคำ \nที่อยู่ 150/27 หมู่ 2 บ้านโต้น ตำบลบ้านโต้น \nอำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น 40320 \nอาชีพ รับจ้าง อายุการศึกษาภูมิปัญญา 18 ปี \n\nชื่อภูมิปัญญา การทอเสื่อกก และเสื่อพลาสติก\nประวัติข้อมูลภูมิปัญญา \n \n เสื่อกก และเสื่อพลาสติกบ้านโต้นมีมาแต่โบราณเพราะสภาพพื้นที่ของหมู่บ้านอยู่ใกล้แหล่งน้ำ ซึ่งมีต้นกกขึ้นอยู่มากมายตามธรรมชาติการทอเสื่อกกในระยะแรกชีสีธรรมชาติของต้นกก ไม่มีการย้อม ทอด้วยมือ สำหรับใช้สอยในครัวเรือน ถวายวัด และใช้เป็นของฝาก แต่ปัจจุบันมีการพัฒนามีเทคโนโลยีเข้ามาจึงมีโรงงานทอเสื่อเข้ามาโดยการทอใช้เครื่องจักรในการทอเสื่อพลาสติกเพิ่มขึ้นมา\n จุดเด่นของเสื่อกกบ้านโต้น อันเป็นที่นิยมของตลาด ได้แก่ สีสันที่กลมกลืน ลายมัดหมี่ที่สะดุดตา เนื้อแน่นละเอียด เพราะมีเคล็ดลับอยู่ที่กี่ผูกเส้นยืน ต้องผูกให้ตึง และนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่นที่รองแก้ว รองจาน ที่ใส่ซองจดหมาย พวงกุญแจ\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n\nกำหนดความรู้/แสวงหาความรู้ (ภายใน/ภายนอก)\n สมาชิกกลุ่มดำเนินการที่บ้านของประธานแล้วนำมาจำหน่ายในนามกลุ่มทั้งปลีกและส่ง โดยการควบคุมคุณภาพและกำหนดราคาโดยกลุ่ม จากการทำไว้ใช้เอง ทำให้กลับกลายเป็น การผลิตเพื่อจำหน่ายสู่ท้องตลาดจนในที่สุดบ้านโต้นมีการรวมตัวตั้งกลุ่มขึ้นในปี 2542 จากนั้นกลุ่มได้พัฒนาตัวเองศึกษาหาความรู้จากแหล่งผลิตต่างๆ จึงได้แนวคิดในการทอเสื่อกกเป็นลายมัดหมี่ต่างๆ และเพิ่มคุณภาพด้วยการเย็บข้างเสื่อด้วยผ้าฝ้าย และทำทรงใหม่ให้สามารถพับเก็บพกพาสะดวกได้ และปัจจุบันมีการนำเสื่อจากโรงงานมาเย็บโดยแพร่หลาย \n\n\n\n\n\n\nการสร้างความรู้ (ขั้นตอน/วิธีการการสร้างภูมิปัญญา)\n เครื่องมือที่ใช้ในการทอเสื่อกก และเสื่อพลาสติก \n โดยเครื่องมือที่ใช้ในการทอเสื่อกกประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ดังนี้ \n1. ฟืม\n2. เครื่องทอ \n3. เครื่องเป่า\n4. เครื่องหลอม\n5. เครื่องจักสำหรับเย็บขอ\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n ขั้นตอนในการทอเสื่อ\n-นำพลาสติกที่ใช้แล้วไปรีไซเคิลใหม่โดยการบด จะมีเครื่องบดที่ใช้สำหรับการบด\n-หลังจากที่บดเสร็จแล้ว ก็จะนำไปใส่ลงที่เครื่องหลอม ในการหลอดจะมีการผสมสีไปในตัวเครื่องด้วย\n-หลังจากที่ผ่านการหลอมก็จะไปลงที่เครื่องขีดเส้น โดยเครื่องนี้จะมีการผ่านน้ำเพื่อที่จะให้เย็นหลังจากที่หลอมเป็นเส้นเสร็จก็จะตัดโดยเครื่องตัดจะตัดเป็นเม็ดเล็กๆ\n-เสร็จแล้วก็จะนำไปหลอมอีกครั้งให้ได้เส้นออกมา ขั้นตอนนี้จะต่างจากขั้นตอนแรกคือขั้นตอนนี้เส้นจะมีรูตรงกลาง\n\n\n\n\n\n\n\n\n-จากนั้นนำเส้นพลาสติกที่ได้เข้าสู่เครื่องทอเพื่อทำทอเสื่อโดยอัตโนมัติ สามารถเปลี่ยนสีสลับได้ตามที่เราต้องการ\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n-หลังจากที่ได้เสื่อจากเครื่องทอแล้วจะเป็นการตกแต่งริมขอบเสื่อโดยการผูกและตกแต่ง\n\n\n\n\n\n\n\n\n-หลังจากผูกและแต่งขอบเสร็จก็นำเสื่อไปเย็บริมโดยรอบ โดยใช้ผ้าแดง และใส่สายกระเป๋า เพื่อให้เสื่อมีความเรียนร้อยสวยงาม เพื่อที่จะพร้อมสำหรับเตรียมขาย\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n\nการจัดเก็บและการค้นคืนความรู้ (การจดจำ/เอกสาร/ฐานข้อมูล)\nใช้การจดจำ และวิธีการสอนการทอและสร้างสรรค์ให้เกิดลวดลายที่สวยงามตามจินตนาการ ตามแบบรูปที่คิดค้นขึ้น สืบทอดความรู้จากรุ่นสู่รุ่น\n\nการถ่ายทอดความรู้และการใช้ประโยชน์ (ซึมซับไว้กับตนเอง หรือ เผยความรู้ให้แก่องค์กร)\n ให้ลูกหลานรุ่นหลังได้มาสืบทอด หรือองค์กรเข้ามาศึกษาหาความรู้ และวิธีการทำ\n\n\n\n\n\nพิกัด (สถานที่)\n150/27 หมู่ 2 บ้านโต้น ตำบลบ้านโต้น อำเภอพระยืน\n\n\nชื่อผู้ศึกษา นางสาวเบญจวรรณ์ พิมพ์ตา เลขที่ 19 Sec.2 \nหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู \n(ป.บัณฑิต) รุ่น 4 \nรายวิชา ความเป็นครู (800 5201) \nเน้นศึกษา ครูกับการอนุรักษ์และส่งเสริม\nภูมิปัญญาท้องถิ่น \nคณะ ศึกษาศาสตร์ \nสถานที่ศึกษา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\nสถานที่ทำงาน โรงเรียนพิมพ์ใจวิทย์ ต.บ้านหว้า อ.เมือง จ.ขอนแก่น\nอาจารย์ผู้สอน\n1 รองศาสตราจารย์ สำเร็จ คำโมง (ครูภูมิปัญญาไทย, ศิลปินมรดกอีสาน)\n2 อาจารย์ ดร.พา อักษรเสือ\n3 อาจารย์ ดร.ธีรภัทร โคตรบรรเทา\n4 อาจารย์ สุชาดา ลดาวัลย์\n5 อาจารย์ อัจฉริยะ วงษ์คำซาว\n6 อาจารย์ บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย |
คำอธิบาย : |
คำสำคัญ : มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, การทอเสื่อกก, การทอเสื่อพลาสติก, ภูมิปัญญาท้องถิ่น |
คำสำคัญ :
|
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน : สาคร ก้อนคำ |
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :
{{setMessages['author']}}
|
ผู้แต่งร่วม : เบญจวรรณ์ พิมพ์ตา, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
ผู้แต่งร่วม :
|
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
|
ระดับชั้น :
มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
|
ระดับชั้น :
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
|
สาขาวิชาของสื่อ :
{{setMessages['relation.subject']}}
ไม่พบข้อมูล
|
ลักษณะของสื่อ :
{{setMessages['relation.media']}}
|
URL : - |
URL : |
: |
สาคร ก้อนคำ, เบญจวรรณ์ พิมพ์ตา, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
(2561). การทอเสื่อกก และเสื่อพลาสติก,
26 มีนาคม 2562.
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/121455
สาคร ก้อนคำ, เบญจวรรณ์ พิมพ์ตา, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
(2561). "การทอเสื่อกก และเสื่อพลาสติก".
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/121455.
(26 มีนาคม 2562)
สาคร ก้อนคำ, เบญจวรรณ์ พิมพ์ตา, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
"การทอเสื่อกก และเสื่อพลาสติก".
26 มีนาคม 2562:
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/121455.
ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง
ไม่มีเรื่องที่เกี่ยวข้อง
รีวิว : การทอเสื่อกก และเสื่อพลาสติก
ไม่พบข้อมูลการรีวิว