โอ่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
102
59
โอ่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ได้รับใบอนุญาตภายใต้ ให้เผยแพร่-โดยต้องระบุที่มาแต่ห้ามดัดแปลงและห้ามใช้เพื่อการค้า 3.0 Thailand.
ไฟล์ดิจิทัล
ชื่อเรื่อง : โอ่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย |
ชื่อเรื่อง :
{{setMessages['title']}}
|
คำอธิบาย : โอ่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ปั้นโดยช่างปั้นบ้านเกาะเกร็ด โดยมีความสูง 105 ซม. ไหล่มีเส้นรอบวง 118 ซม. ไม่ได้สลักลายที่โอ่ง โอ่งใบนี้ปั้นเมื่อ พ.ศ. 2465 พระยาพิไชยบุรินทรา (นวม ไตลังคะ) คหบดีมอญเกาะเกร็ดได้ให้ นายแป๊ะ ช่างปั้นบ้านเกาะเกร็ด เป็นผู้ปั้น การแต่งภายในโอ่งช่างปั้นต้องนั่งอยู่ในสาแหรกที่แขวนให้ห้อยอยู่ภายในโอ่ง การแต่งภายนอกช่างปั้นต้องยืนบนม้านั่ง การนำโอ่งใบนี้เข้าเผาในเตาต้องรื้อปากเตาเพราะขนาดของโอ่งกว้างกว่าความกว้างของปากเตา เมื่อนำโอ่งเข้าภายในเตาแล้ว จึงก่อปากเตาให้เหมือนเดิม และเมื่อจะนำโอ่งออกจากเตาต้องรื้อปากเตาอีกครั้งหนึ่ง จึงนำโอ่งออกจากเตาได้ เตาเผาใบนี้เป็นเตาของพระยาพิไชยบุรินทรา อยู่หมู่ที่ 7 ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรีพระยาพิไชยบุรินทราตั้งใจจะมอบโอ่งใบนี้ให้เป็นสมบัติของพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร แต่เนื่องจากโอ่งใบนี้เมื่อเผาเกิดการชำรุดมีรอยร้าวจึงไมไ่ด้มอบให้พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร แต่ได้มอบไว้ให้แก่นายแป๊ะช่างปั้นนำมาเก็บไว้ที่บ้านนางทองย้อย ลนขาว ต่อมาได้ถวายวัดปรมัยยิกาวาส ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วัดปรมัยยิกาวาส ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โอ่งนี้จึงเป็นโอ่งบ้านเกาะเกร็ดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย |
คำอธิบาย : |
คำสำคัญ : โอ่งใหญ่ที่สุด, เครื่องปั้นดินเผา, โอ่ง, ข้อมูลท้องถิ่นนนทบุรี, โอ่งใหญ่ |
คำสำคัญ :
|
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน : ชลลดา หงษ์งาม |
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :
{{setMessages['author']}}
|
ผู้แต่งร่วม : สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.), คณะทำงานข้อมูลท้องถิ่น ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค |
ผู้แต่งร่วม :
|
สื่อสำหรับบุคคลประเภท : ครู / อาจารย์, นักเรียน / นักศึกษา, ทั่วไป |
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
|
ระดับชั้น :
มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
|
ระดับชั้น :
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
|
สาขาวิชาของสื่อ : ศิลปะ, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม |
สาขาวิชาของสื่อ :
{{setMessages['relation.subject']}}
ไม่พบข้อมูล
|
ลักษณะของสื่อ : รูปภาพ |
ลักษณะของสื่อ :
{{setMessages['relation.media']}}
|
URL : https://library.stou.ac.th/blog/books-review/nonthaburi-earthenware/ |
URL : |
: |
ชลลดา หงษ์งาม, สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.), คณะทำงานข้อมูลท้องถิ่น ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค.
(2563). โอ่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย,
16 พฤษภาคม 2563.
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/182466
ชลลดา หงษ์งาม, สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.), คณะทำงานข้อมูลท้องถิ่น ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค.
(2563). "โอ่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย".
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/182466.
(16 พฤษภาคม 2563)
ชลลดา หงษ์งาม, สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.), คณะทำงานข้อมูลท้องถิ่น ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค.
"โอ่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย".
16 พฤษภาคม 2563:
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/182466.
ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง
ไม่มีเรื่องที่เกี่ยวข้อง
รีวิว : โอ่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
ไม่พบข้อมูลการรีวิว