นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ฉบับที่ 94 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564
1,480
854
นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ฉบับที่ 94 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564 ได้รับใบอนุญาตภายใต้ ให้เผยแพร่-โดยต้องระบุที่มาแต่ห้ามดัดแปลงและห้ามใช้เพื่อการค้า 3.0 Thailand.
ไฟล์ดิจิทัล
แสดงในรูปแบบ e-book
- เล่มที่ 1 |
ชื่อเรื่อง : นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ฉบับที่ 94 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564 |
ชื่อเรื่อง :
{{setMessages['title']}}
|
คำอธิบาย : นิตยสารสาระวิทย์ ฉบับที่ 94 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564ย่อยโลกข้อมูลข่าวสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อคุณเรื่องจากปก: (โดย วัชราภรณ์ สนทนา)- ‘หอมนาคา’ ข้าวเหนียวพันธุ์ใหม่ หอมนุ่ม ผลผลิตสูง นักวิจัยไทยสามารถพัฒนาข้าวเหนียวพันธุ์ใหม่ ‘หอมนาคา’ ที่ดีต่อใจทั้งผู้บริโภคและเกษตรกร เพราะนอกจากจะรสชาติดี มีกลิ่นหอมและนุ่มเหนียวเมื่อหุงสุกไม่แพ้กันแล้ว ยังต้านทานต่อโรคข้าวและภัยธรรมชาติ ล่าสุดขยายผลสู่เกษตรกรในพื้นที่ อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง เพื่อทดลองปลูกและพร้อมเก็บเกี่ยวแล้ว บทความพิเศษ: (โดย อรพินท์ วิภาสุรมณฑล)- "มารี กูรี" หนึ่งหญิง ผู้เปลี่ยนโฉมหน้าโลกวิทยาศาสตร์ คนทั่วโลกต่างได้ยินชื่อ มารี กูรี มาก่อน เพราะเธอเป็นผู้หญิงคนแรกในหลายๆ ด้าน เช่น เป็นผู้ค้นพบธาตุโปโลเนียม และเรเดียม ค้นพบปรากฎการณ์กัมมันตภาพรังสี ได้รับรางวัลโนเบลสองครั้ง ครั้งแรกทางฟิสิกส์และต่อมาอีกครั้งทางเคมี เป็นศาสตราจารย์หญิงคนแรกของมหาวิทยาลัยแห่งปารีส จุดประสงค์ในการเขียนเรียบเรียงเรื่องราวชีวิตของ มารี กูรี ฉบับนี้นั้น เพื่อให้เด็กไทย โดยเฉพาะนักเรียนหญิง ได้ซึมซาบถึงประวัติรายละเอียด พื้นฐานครอบครัว อุปนิสัย ความมานะบุกบั่น ตลอดจนอุปสรรค ความล้มเหลว ความผิดหวัง ด้านต่างๆ ที่เธอต้องฟันฝ่า กว่าจะประสบความสำเร็จ ร้อยพันวิทยา: (โดย รวิศ ทัศคร)- อาหารรมควัน คนเรารู้จักการรมควันอาหารมานาน และมีผลิตภัณฑ์อาหารต่าง ๆ มากมาย ที่อาศัยการบ่มเกลือ และรมควันเพื่อถนอมอาหาร หรือทำให้มีกลิ่นรสที่น่ารับประทานมากยิ่งขึ้น แม้การรับประทานมากเกินไปอาจก่อโทษต่อสุขภาพได้ แต่อาหารรมควันหอม ๆ ก็เป็นที่ชื่นชอบของหลายคนเสมอ และจะอยู่คู่เมนูอาหารกับเราไป ตราบนานเท่านาน สภากาแฟ: (โดย ผศ. ดร. ป๋วย อุ่นใจ)- วิกฤตการศึกษาในยุควิกฤตโควิด-19 :- เมื่อไรกายหยาบจะได้ไปโรงเรียน? ในมุมของอาจารย์มหาวิทยาลัย สิ่งหนึ่งที่ชื่นชอบเวลา go online คือการตามส่องมีม (Meme) ที่ นักเรียน นักศึกษาในแต่ละคณะทำ เพราะมันมีความทะเล้น แทะโลม และจิกกัด ที่ผสมผสานกับความสร้างสรรค์เอาไว้อย่างแนบเนียน สิ่งหนึ่งที่เหมือนกันในแทบทุกกลุ่มมีมที่ตามส่องอยู่ คือ การแสดงถึงความผิดหวังแกมไม่พึงพอใจกับการเรียนออนไลน์ และหลังจากที่หลายสถาบันเริ่มออกประกาศเรียนออนไลน์ในช่วงการระบาดใหม่ของโควิด-19 ในประเทศ เปิดโลกนิทานดาว: (โดย พงศธร กิจเวช)- กลุ่มดาวแพะทะเล ที่มาของเดือนมกราคม ชื่อเดือนมกราคมภาษาอังกฤษคือ January มาจาก เจนัส (Janus) เทพเจ้าแห่งประตู การเริ่มต้นและการสิ้นสุด ของโรมัน มีลักษณะน่าสนใจคือเป็นคน 2 หน้า ตรงข้ามกัน หน้าหนึ่งหันมองไปอดีต อีกหน้าหนึ่งหันมองไปอนาคต สาระวิทย์ในศิลป์: (โดย วริศา ใจดี)- สวัสดีปีวัวสไตล์สาระวิทย์ในศิลป์ คุณ Krafft Arnold Ehricke วิศวกรเครื่องยนต์จรวดและผู้สนับสนุนการตั้งนิคมในอวกาศชาวเยอรมัน และ คุณ George Gamow นักฟิสิกส์ทฤษฎีและนักจักรวาลวิทยาชาวอเมริกันเชื้อสายรัสเซีย ได้เสนอแบบจำลอง การเดินทางรอบดวงจันทร์ โดยเครื่องมือพิเศษในรูปของพาหนะที่ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบดวงจันทร์ โดยไม่ลงจอด เพื่อสามารถตีวงวกกลับมายังโลกได้อีกครั้งหนึ่ง พวกเขาได้เรียกชื่อเครื่องมือพิเศษชิ้นนี้ว่า “COW” ตามเพลงกล่อมเด็กฉบับย้อนหลังhttps://www.nstda.or.th/sci2pub/sarawit/ผลิตโดย: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) |
คำอธิบาย : |
คำสำคัญ : สาระวิทย์, e-book, วิทยาศาสตร์, นิตยสารสาระวิทย์, เทคโนโลยี, สวทช |
คำสำคัญ :
|
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ |
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :
{{setMessages['author']}}
|
ผู้แต่งร่วม :
|
สื่อสำหรับบุคคลประเภท : ผู้ปกครอง, ครู / อาจารย์, นักเรียน / นักศึกษา, ทั่วไป |
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
|
ระดับชั้น :
ประถมศึกษาปีที่ 1 (ป. 1), ประถมศึกษาปีที่ 2 (ป. 2), ประถมศึกษาปีที่ 3 (ป. 3), ประถมศึกษาปีที่ 4 (ป. 4), ประถมศึกษาปีที่ 5 (ป. 5), ประถมศึกษาปีที่ 6 (ป. 6), มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
|
ระดับชั้น :
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
|
สาขาวิชาของสื่อ : วิทยาศาสตร์, การงานอาชีพและเทคโนโลยี, สุขศึกษาและพลศึกษา |
สาขาวิชาของสื่อ :
{{setMessages['relation.subject']}}
ไม่พบข้อมูล
|
ลักษณะของสื่อ : บทความ, หนังสือ |
ลักษณะของสื่อ :
{{setMessages['relation.media']}}
|
URL : https://www.nstda.or.th/sci2pub/ |
URL : |
: |
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.
(2564). นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ฉบับที่ 94 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564,
14 มกราคม 2564.
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/218938
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.
(2564). "นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ฉบับที่ 94 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564".
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/218938.
(14 มกราคม 2564)
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.
"นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ฉบับที่ 94 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564".
14 มกราคม 2564:
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/218938.
ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง
ไม่มีเรื่องที่เกี่ยวข้อง
รีวิว : นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ฉบับที่ 94 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564
ไม่พบข้อมูลการรีวิว