ทำความรู้จักหนอนหัวดำมะพร้าว(Opisina arenosella Walker)

73      34
 
Creative Commons License
ทำความรู้จักหนอนหัวดำมะพร้าว(Opisina arenosella Walker) ได้รับใบอนุญาตภายใต้ ให้เผยแพร่-โดยต้องระบุที่มาแต่ห้ามดัดแปลงและห้ามใช้เพื่อการค้า 3.0 Thailand.

 
ชื่อเรื่อง : ทำความรู้จักหนอนหัวดำมะพร้าว(Opisina arenosella Walker)
ชื่อเรื่อง :
{{setMessages['title']}}
คำอธิบาย : แนวทางป้องกันกำจัดหนอนหัวดำมะพร้าว ควรใช้วิธีการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (Integrated Pest Management : IPM)1. วิธีเขตกรรมและวิธีกล ตัดใบที่มีหนอนหัวดำมะพร้าวนำไปเผาทำลายทันที ไม่ควรเคลื่อนย้ายต้นพันธุ์มะพร้าวหรือพืชตระกูลปาล์มมาจากแหล่งที่มีการระบาด2. การใช้ชีววิธี การใช้แตนเบียนที่เฉพาะเจาะจงกับหนอนหัวดำมะพร้าว เช่น แตนเบียนโกนีโอซัส นีแฟนติดิส (Goniozus nephantidis) โดยปล่อยช่วงเวลาเย็น พลบค่ำ อัตรา 200 ตัวต่อไร่ต่อครั้ง ให้กระจายทั่วแปลงเดือนละครั้ง ถ้าปล่อยแตนเบียนได้มากจะทำให้เห็นผลในการควบคุมเร็วขึ้น3. การใช้สารเคมี3.1 ใช้สารอีมาเมกตินเบนโซเอต 1.92% EC เข้มข้นโดยไม่ต้องผสมน้ำฉีดเข้าที่ลำต้นมะพร้าวอัตรา 30 มิลลิลิตรต่อต้น โดยใช้สว่านเจาะรูให้เอียงลงประมาณ 45 องศา จำนวน 2 รู ให้ตรงข้ามกัน เจาะรูให้ลึก 10 - 15 เซนติเมตร ขึ้นอยู่กับขนาดของดอกสว่าน ตำแหน่งของรูอยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 1 เมตร แล้วฉีดสารฆ่าแมลงลงไปรูละ 15 มิลลิลิตร ปิดรูด้วยดินน้ำมัน วิธีนี้จะป้องกันกำจัดหนอนหัวดำมะพร้าวได้นานมากกว่า 3 เดือน#เฉพาะมะพร้าวที่มีความสูงมากกว่า12เมตรขึ้นไป 3.2 กรณีมะพร้าวต้นเล็กที่มีความสูงน้อยกว่า 12 เมตร รวมทั้งมะพร้าวกะทิ มะพร้าวน้ำหอมและมะพร้าวที่ใช้ทำน้ำตาล ในพื้นที่ที่มีการระบาดรุนแรง และไม่มีการปล่อยแตนเบียน ให้พ่นทรงพุ่มด้วยสารฟลูเบนไดอะไมด์ 20% WG อัตรา 5 กรัม หรือ คลอแรนทรานิลิโพรล 5.17% SC อัตรา 20 มิลลิลิตร หรือ ลูเฟนนูรอน 5% EC อัตรา 20 มิลลิลิตร (สารนี้มีพิษสูงต่อกุ้ง ไม่ควรใช้บริเวณที่มีการเลี้ยงกุ้ง) โดยเลือกสารชนิดใดชนิดหนึ่งตามอัตราที่กำหนดผสมน้ำ 20 ลิตร พ่นให้ทั่วทรงพุ่มบริเวณใต้ใบ 1 - 2 ครั้ง ปล.กรณีที่มีการปล่อยแตนเบียน ให้พ่นสารเคมีก่อน ประมาณ 2 สัปดาห์
คำอธิบาย :
คำสำคัญ : พืช, ศัตรูพืช, แมลง, สารเคมี, โรคของพืช, การป้องกัน
คำสำคัญ :
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน : กรมวิชาการเกษตร
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :
{{setMessages['author']}}
ผู้แต่งร่วม :  
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ทั่วไป, ครู / อาจารย์, นักเรียน / นักศึกษา, ผู้ปกครอง
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :  
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
ระดับชั้น :  
ประถมศึกษาปีที่ 1 (ป. 1), ประถมศึกษาปีที่ 2 (ป. 2), ประถมศึกษาปีที่ 3 (ป. 3), ประถมศึกษาปีที่ 4 (ป. 4), ประถมศึกษาปีที่ 5 (ป. 5), ประถมศึกษาปีที่ 6 (ป. 6), มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
ระดับชั้น :  
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
สาขาวิชาของสื่อ :   การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาขาวิชาของสื่อ :  
{{setMessages['relation.subject']}}
ไม่พบข้อมูล
ลักษณะของสื่อ :   Infographic, Poster, รูปภาพ
ลักษณะของสื่อ :  
{{setMessages['relation.media']}}
URL : https://www.facebook.com/PATRS.DOA/
URL :
:
กรมวิชาการเกษตร. (2564). ทำความรู้จักหนอนหัวดำมะพร้าว(Opisina arenosella Walker), 31 มีนาคม 2564. https://oer.learn.in.th/search_detail/result/227062
กรมวิชาการเกษตร. (2564). "ทำความรู้จักหนอนหัวดำมะพร้าว(Opisina arenosella Walker)". https://oer.learn.in.th/search_detail/result/227062. (31 มีนาคม 2564)
กรมวิชาการเกษตร. "ทำความรู้จักหนอนหัวดำมะพร้าว(Opisina arenosella Walker)". 31 มีนาคม 2564: https://oer.learn.in.th/search_detail/result/227062.

ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง

ไม่มีเรื่องที่เกี่ยวข้อง

รีวิว : ทำความรู้จักหนอนหัวดำมะพร้าว(Opisina arenosella Walker)

ไม่พบข้อมูลการรีวิว