ภาพทศชาติ สุวรรณสามชาดก (เมตตาบารมี)

718
767

ภาพทศชาติ สุวรรณสามชาดก (เมตตาบารมี) ได้รับใบอนุญาตภายใต้ ให้เผยแพร่-โดยต้องระบุที่มาแต่ห้ามดัดแปลงและห้ามใช้เพื่อการค้า 3.0 Thailand.
ไฟล์ดิจิทัล
ชื่อเรื่อง : ภาพทศชาติ สุวรรณสามชาดก (เมตตาบารมี) |
ชื่อเรื่อง :
|
คำอธิบาย : ภาพทศชาติ สุวรรณสามชาดก (เมตตาบารมี)สุวรรณสามเป็นพราหมณ์ พ่อกับแม่ออกบวชเพื่อแสวงหาความหลุดพ้น(วิโมกข์) สุวรรณสามปรนนิบัติบิดามารดาเพราะตาบอด เนื่องจากถูกพิษงูพ่นใส่ตา สุวรรณสามเป็นผู้มีจิตใจเมตตาต่อสัตว์ในป่าจนเป็นเพื่อนเล่นกัน วันหนึ่งขณะที่สุวรรณสามออกไปหาผลไม้ในป่าพร้อมกับฝูงกวาง ขณะนั้นกบิลยักขราชกษัตริย์เมืองพาราณสี ออกมาล่าสัตว์มองเห็นสุวรรณสามอยู่กับฝูงกวาง ด้วยความคะนองจึงยิงธนูไปถูกสุวรรณสามเจ็บปวดสาหัส จึงร้องว่าใครยิงเราทั้งๆที่ไม่เคยเป็นศัตรูกัน เราไม่โกรธท่านหรอก แต่ขอให้ไปแจ้งแก่บิดามารดาที่ตาบอด กบิลยักข์เสียใจมากที่ฆ่าผู้บริสุทธิ์ จึงนำร่างสุวรรณสามไปพบและแจ้งแก่บิดามารดาสุวรรณสามๆ เสียใจมากจึงแต่ก็ไม่โกรธ และอธิษฐานขอบารมีแห่งเมตตาบารมีที่ทำมา ช่วยให้สุวรรณสามฟื้น และด้วยผลบุญ ทำให้สุวรรณสาม ฟื้นจากความตาย ส่วนกบิลยักข์ก็กลับตัวมาสร้างความดีปกครองบ้านเมืองอย่างสงบศานติเมตตาจะคล้ายคลึงกับความรัก คือต่างปรารถนาให้ผู้ที่เราเมตตาและเรารักมีความสุข ผมคิดอยู่เสมอว่าแล้วมีความต่างกันตรงไหน? มีคำกล่าวว่า\"ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข์\" ฟังดูติดลบ แต่ก็มีคำกล่าวว่า\"เมตตาธรรมค้ำจุนโลก\" ฟังดูเป็นบวก พบว่า เมตตาเป็นความปรารถนาดีที่ไม่หวังผลใจจึงว่าง แต่ความรักเป็นความปรารถนาดีที่หวังผล ดังนั้นเมื่อไม่ได้ดังหวัง หรือต้องพลัดพรากจึงเป็นทุกข์ ตัวอย่างเช่น เราเมตตาต่อสุนัขเราจะให้อาหารเพื่อให้สุนัขมีความสุขเท่านั้น แต่ถ้าเรารักสุนัขเราจะจะอยากเป็นเจ้าของ และเมื่อมันเจ็บหรือตายเราจะเป็นทุกข์ |
คำอธิบาย : |
คำสำคัญ : ภาพทศชาติ, ภาพวาดทางวรรณคดี, ภาพสุวรรณสามชาดก, งานศิลปะ, ภาพเมตตาบารมี, ภาพวาด |
คำสำคัญ :
|
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน : ศิริพงศ์ พยอมแย้ม |
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :
|
ผู้แต่งร่วม :
|
สื่อสำหรับบุคคลประเภท : ทั่วไป, นักเรียน / นักศึกษา, ครู / อาจารย์ |
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :
ไม่พบข้อมูล
|
ระดับชั้น :
ประถมศึกษาปีที่ 4 (ป. 4), ประถมศึกษาปีที่ 5 (ป. 5), ประถมศึกษาปีที่ 6 (ป. 6), มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
|
ระดับชั้น :
ไม่พบข้อมูล
|
สาขาวิชาของสื่อ : ศิลปะ, ภาษาไทย, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม |
สาขาวิชาของสื่อ :
ไม่พบข้อมูล
|
ลักษณะของสื่อ : รูปภาพ |
ลักษณะของสื่อ :
|
URL : - |
URL : |
: |
ศิริพงศ์ พยอมแย้ม.
(2560). ภาพทศชาติ สุวรรณสามชาดก (เมตตาบารมี),
30 สิงหาคม 2560.
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/69004
ศิริพงศ์ พยอมแย้ม.
(2560). "ภาพทศชาติ สุวรรณสามชาดก (เมตตาบารมี)".
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/69004.
(30 สิงหาคม 2560)
ศิริพงศ์ พยอมแย้ม.
"ภาพทศชาติ สุวรรณสามชาดก (เมตตาบารมี)".
30 สิงหาคม 2560:
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/69004.
ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง
ไม่มีเรื่องที่เกี่ยวข้อง
รีวิว : ภาพทศชาติ สุวรรณสามชาดก (เมตตาบารมี)
ไม่พบข้อมูลการรีวิว