พิพิธภัณฑ์หุ่นขึ้ผึ้งไทย

225      206
 
Creative Commons License
พิพิธภัณฑ์หุ่นขึ้ผึ้งไทย ได้รับใบอนุญาตภายใต้ ให้เผยแพร่-โดยต้องระบุที่มาแต่ห้ามดัดแปลงและห้ามใช้เพื่อการค้า 3.0 Thailand.

 
ชื่อเรื่อง : พิพิธภัณฑ์หุ่นขึ้ผึ้งไทย
ชื่อเรื่อง :
{{setMessages['title']}}
คำอธิบาย : ครูดวงแก้ว พิทยากรศิลป์ เป็นผู้ริเริ่มสร้างหุ่นขี้ผึ้งด้วยไฟเบอร์กลาสสำเร็จในเมืองไทย เนื่องจากหุ่นขี้ผึ้งประสบปัญหาในเรื่องของสภาพอากาศ ฝุ่นละอองซึ่งเป็นอันตรายต่อความสวยงาม และความคงทนของตัวหุ่น แต่ด้วยความมุ่งมั่น จึงเพียรพยายามทดลองใช้วัสดุต่างๆ จนกระทั่งได้นำไฟเบอร์กลาสมาใช้ทดแทนขี้ผึ้ง ด้วยกรรมวิธีที่คิดค้นขึ้นเอง ทำให้หุ่นที่ทำด้วยไฟเบอร์กลาส มีคุณภาพดีกว่าหุ่นขี้ผึ้งทั่วไปซึ่งไม่เหมาะกับสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย และได้ร่วมก่อตั้งพิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย ขึ้นที่อำเภอนครชัยศรี จ.นครปฐม สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ได้เสด็จมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดอย่างเปิดทางการ พร้อมด้วย ฯพณฯ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ประธานองคมนตรี เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2532 ถือได้ว่าเป็นพิพิธภัณฑ์หุ่นขึ้ผึ้งไทย แห่งแรกในประเทศไทย เพื่อเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย โดยสร้างสรรค์หุ่นในชุดต่าง ๆ ที่สะท้อนให้เห็นถึงชีวิตไทย ศิลปะ วัฒนธรรมและเพื่อให้เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต ครูดวงแก้ว พิทยากรศิลป์ ทุ่มเทความรู้และความสามารถทางสร้างสรรค์งานศิลปะ เพื่อเผยแพร่ชื่อเสียง เกียรติคุณ อีกทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยให้ปรากฏต่อสายตาทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) ในปี พ.ศ. 2538
คำอธิบาย :
คำสำคัญ : ครูดวงแก้ว พิทยากรศิลป์, หุ่นขี้ผึ้งไฟเบอร์กลาส, มหาวิทยาลัยมหิดล, เกตุ ทิทยากรศิลป์, พิพิธภัณฑ์หุ่นขึ้ผึ้งไทย
คำสำคัญ :
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน : ครูดวงแก้ว พิทยากรศิลป์
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :
{{setMessages['author']}}
ผู้แต่งร่วม :   ธมลพรรณ ปานะวงษ์, เกตุ ทิทยากรศิลป์, หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
ผู้แต่งร่วม :  
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ครู / อาจารย์, ผู้ปกครอง, ทั่วไป, นักเรียน / นักศึกษา
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :  
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
ระดับชั้น :  
ปฐมวัย, ประถมศึกษาปีที่ 1 (ป. 1), ประถมศึกษาปีที่ 2 (ป. 2), ประถมศึกษาปีที่ 3 (ป. 3), ประถมศึกษาปีที่ 4 (ป. 4), ประถมศึกษาปีที่ 5 (ป. 5), ประถมศึกษาปีที่ 6 (ป. 6), มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
ระดับชั้น :  
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
สาขาวิชาของสื่อ :   การงานอาชีพและเทคโนโลยี, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม, ศิลปะ, ภาษาไทย
สาขาวิชาของสื่อ :  
{{setMessages['relation.subject']}}
ไม่พบข้อมูล
ลักษณะของสื่อ :   รูปภาพ
ลักษณะของสื่อ :  
{{setMessages['relation.media']}}
URL : -
URL :
:
ครูดวงแก้ว พิทยากรศิลป์, ธมลพรรณ ปานะวงษ์, เกตุ ทิทยากรศิลป์, หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล. (2560). พิพิธภัณฑ์หุ่นขึ้ผึ้งไทย, 8 ตุลาคม 2560. https://oer.learn.in.th/search_detail/result/71818
ครูดวงแก้ว พิทยากรศิลป์, ธมลพรรณ ปานะวงษ์, เกตุ ทิทยากรศิลป์, หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล. (2560). "พิพิธภัณฑ์หุ่นขึ้ผึ้งไทย". https://oer.learn.in.th/search_detail/result/71818. (8 ตุลาคม 2560)
ครูดวงแก้ว พิทยากรศิลป์, ธมลพรรณ ปานะวงษ์, เกตุ ทิทยากรศิลป์, หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล. "พิพิธภัณฑ์หุ่นขึ้ผึ้งไทย". 8 ตุลาคม 2560: https://oer.learn.in.th/search_detail/result/71818.

ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง

ไม่มีเรื่องที่เกี่ยวข้อง

รีวิว : พิพิธภัณฑ์หุ่นขึ้ผึ้งไทย

ไม่พบข้อมูลการรีวิว