หน่อไม้ดอง
153
634
หน่อไม้ดอง ได้รับใบอนุญาตภายใต้ ให้เผยแพร่-ดัดแปลง-โดยต้องระบุที่มาแต่ห้ามใช้เพื่อการค้า 3.0 Thailand.
แสดงในรูปแบบ e-book
- เล่มที่ 1 |
ชื่อเรื่อง : หน่อไม้ดอง |
ชื่อเรื่อง :
{{setMessages['title']}}
|
คำอธิบาย : หน่อไม้ดอง\\nตำบลโนนทอง อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น \\nข้อมูลเจ้าของภูมิปัญญา\\n\\nชื่อเจ้าของภูมิปัญญา นางวิภาดา ธรรมวงษา อายุ 54 ปี\\nที่อยู่ 74 ม.18 ต.โนนทอง อ.หนองเรือ จ.ขอนแก่น\\n \\nอาชีพ ข้าราชการครู อายุการศึกษาภูมิปัญญา ประมาณ 40 ปี\\n \\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\nชื่อภูมิปัญญา หน่อไม้ดอง\\nประวัติข้อมูลภูมิปัญญา \\nเมื่อประมาณ40ปีที่แล้ว เจ้าของภูมิปัญญาได้เรียนรู้วิธีการทำหน่อไม้ดองมาจากคุณแม่ ซึ่งหน่อไม้ดองเป็นวิธีการถนอมอาหารที่สืบทอดกันมาเป็นเวลาช้านานจากรุ่นสู่รุ่น แม้ว่าคนไทยสมัยก่อนจะไม่ทราบทฤษฎี หรือหลักการในการถนอมรักษาผลิตผลทางการเกษตรในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ก็ได้มีการปฏิบัติต่อๆกันมาหลายชั่วอายุคน เป็นวิธีการถนอมอาหารแบบง่ายๆ ไม่มีกรรมวิธียุ่งยากหรือซับซ้อน โดยอาศัยธรรมชาติเป็นส่วนช่วยในการถนอมรักษาและวัตถุดิบก็สามารถหาได้ง่ายในครัวเรือน โดยที่คุณภาพเปลี่ยนแปลงน้อยที่สุด และสามารถเก็บไว้ได้นาน \\nหน่อไม้นั้นจะมีผลผลิตมากในช่วงฤดูฝน ทำให้ไม่สามารถบริโภคแบบสดได้หมด จึงได้นำมาแปรรูปเป็น หน่อไม้ดอง เพื่อไม่ให้หน่อไม้ที่มีอยู่เป็นจำนวนมากสูญเปล่าไปโดยไร้ประโยชน์ และถนอมอาหารเก็บไว้บริโภคได้นานๆ \\n\\nกำหนดความรู้/แสวงหาความรู้ (ภายใน/ภายนอก)\\nได้รับความรู้จากคุณแม่ โดยการสืบทอดกันมาตั้งแต่โบราณจากรุ่นสู่รุ่น เนื่องจากมีวิธีการทำที่ไม่ยุ่งยากและใช้วัตถุดิบ วัสดุ อุปกรณ์ ที่มีอยู่ในครัวเรือนหรือสามารถหาได้ในท้องถิ่น \\nการสร้างความรู้ (ขั้นตอน/วิธีการการสร้างภูมิปัญญา)\\nขั้นตอนและวิธีสร้างภูมิปัญญา\\n1.เตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์ ดังนี้\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n1.1 หน่อไม้\\n1.2 มีด\\n1.3 เขียง\\n1.4 ถาดใส่อาหาร\\n1.5 เกลือ\\n1.6 น้ำซาวข้าว\\n1.7 ขวดโหลพลาสติก\\n 2. นำหน่อไม้สดมาปลอกเปลือก \\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n3. นำหน่อไม้ที่ปลอกเปลือกแล้วมาหั่นส่วนปลายออก\\n\\n\\n\\n \\n\\n \\n \\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n4. สับ หั่น หรือฝาน เป็นชิ้นบางๆ\\n\\n \\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n5. โรยเกลือ\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n6. คั้นหน่อไม้กับเกลือให้เข้ากัน และคั้นจนน้ำหน่อไม้ออกมาพอประมาณ\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n7. เมื่อคั้นหน่อไม้จนได้ที่แล้ว ก่อนบรรจุลงภาชนะ (ขวดโหลพลาสติก) ควรบีบน้ำหน่อไม้ออกก่อน\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n8. บรรจุลงในขวดโหลพลาสติก (ก่อนปิดฝาอาจจะเติมน้ำซาวข้าวลงไป แล้วแต่ความชอบ) และปิดฝาให้แน่น\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\nการจัดเก็บและการค้นคืนความรู้ (การจดจำ/เอกสาร/ฐานข้อมูล)\\n เจ้าของภูมิปัญญากล่าวว่าเป็นการสืบทอดความรู้ด้วยการจดจำไว้เพียงอย่างเดียว หากจะถ่ายทอดความรู้ จะอาศัยการถ่ายทอดความรู้ โดยการสาธิตวิธีการและทำให้เห็นจากประสบการณ์จริง\\n\\nการถ่ายทอดความรู้และการใช้ประโยชน์ (ซึมซับไว้กับตนเอง หรือ เผยความรู้ให้แก่องค์กร)\\n การทำหน่อไม้ดอง เป็นการสืบทอดความรู้กันแบบรุ่นสู่รุ่น เรียนรู้ต่อกันเรื่อยๆ บางครัวเรือนแปรรูปเก็บไว้บริโภคเอง บางคนมีผลผลิตเยอะก็จะทำเผื่อขายด้วย สร้างรายได้ให้กับตนเอง ในภาคอีสานของเรานี้ หน่อไม้ดองสามารถประกอบอาหารได้มากมายหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็น แกง ต้ม ป่น หมก ผัด เป็นต้น จึงถือว่าเป็นวัตถุดิบที่หลายบ้านมีติดไว้ในห้องครัวอย่างแน่นอน \\n\\nพิกัด (สถานที่)\\n \\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\n\\nข้อมูลผู้ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ปีการศึกษา 2560\\nชื่อผู้ศึกษา นางสาวรุจิเรข ธรรมวงษา รหัส 6080110128 SEC.5 \\n\\nหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู (ป.บัณฑิต) รุ่น 4 \\nรายวิชา ความเป็นครู (800 5201) \\nเน้นศึกษา ครูกับการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น \\nคณะ ศึกษาศาสตร์ \\nสถานที่ศึกษา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\\nสถานที่ทำงาน โรงเรียนประชารัฐวิทยาเสริม \\nต.บ้านโต้น อ.พระยืน จ.ขอนแก่น \\nอาจารย์ผู้สอน\\n1 รองศาสตราจารย์ สำเร็จ คำโมง (ครูภูมิปัญญาไทย, ศิลปินมรดกอีสาน)\\n2 อาจารย์ ดร.พา อักษรเสือ\\n3 อาจารย์ ดร.ธีรภัทร โคตรบรรเทา\\n4 อาจารย์ สุชาดา ลดาวัลย์\\n5 อาจารย์ อัจฉริยะ วงษ์คำซาว\\n6 อาจารย์ บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย |
คำอธิบาย : |
คำสำคัญ : หน่อไม้ดอง, การทำหน่อไม้ดอง, การถนอมอาหาร, ภูมิปัญญาไทย, ภูมิปัญญาชาวบ้าน, ภูมิปัญญาอีสาน, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
คำสำคัญ :
|
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน : วิภาดา ธรรมวงษา |
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :
{{setMessages['author']}}
|
ผู้แต่งร่วม : รุจิเรข ธรรมวงษา, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
ผู้แต่งร่วม :
|
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
|
ระดับชั้น :
มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
|
ระดับชั้น :
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
|
สาขาวิชาของสื่อ :
{{setMessages['relation.subject']}}
ไม่พบข้อมูล
|
ลักษณะของสื่อ :
{{setMessages['relation.media']}}
|
URL : - |
URL : |
: |
วิภาดา ธรรมวงษา, รุจิเรข ธรรมวงษา, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
(2561). หน่อไม้ดอง,
26 มีนาคม 2562.
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/88506
วิภาดา ธรรมวงษา, รุจิเรข ธรรมวงษา, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
(2561). "หน่อไม้ดอง".
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/88506.
(26 มีนาคม 2562)
วิภาดา ธรรมวงษา, รุจิเรข ธรรมวงษา, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
"หน่อไม้ดอง".
26 มีนาคม 2562:
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/88506.
ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง
ไม่มีเรื่องที่เกี่ยวข้อง
รีวิว : หน่อไม้ดอง
ไม่พบข้อมูลการรีวิว