จักสารกระติ๊บข้าว

866      1,796
 
Creative Commons License
จักสารกระติ๊บข้าว ได้รับใบอนุญาตภายใต้ ให้เผยแพร่-ดัดแปลง-โดยต้องระบุที่มาแต่ห้ามใช้เพื่อการค้า 3.0 Thailand.

 แสดงในรูปแบบ e-book

- เล่มที่ 1
 
ชื่อเรื่อง : จักสารกระติ๊บข้าว
ชื่อเรื่อง :
{{setMessages['title']}}
คำอธิบาย : กลุ่มจักสารกระติ๊บข้าวสถานที่ บ้านเลขที่153 ม.13 ต.ยางคำ อ.หนอเรือ จ.ขอนแก่นข้อมูลเจ้าของภูมิปัญญา ชื่อเจ้าของภูมิปัญญา นางอ่อนสา หมื่นแก้ว 53 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่153 ม.13 ต.ยางคำ อ.หนอเรือ จ.ขอนแก่น อาชีพ ทำนา อายุการศึกษาภูมิปัญญา 20ปี ชื่อภูมิปัญญา การสานกระติ๊บข้าวประวัติข้อมูลภูมิปัญญา กลุ่มจักสานกระติ๊บข้าวบ้านยางคำ หมู่ที่ ๑๓ ตำบลยางคำ อำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ก่อตั้งปี ๒๕๔๑ ประธานกลุ่มคนปัจจุบันคือ นางอ่อนสา หมื่นแก้ว มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้ให้คงอยู่และเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว ในระยะแรกๆ จะมีเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่ไม่สามารถไปทำการเกษตรได้และอยู่เลี้ยงลูกหลานที่บ้าน โดยจะทำในช่วงเวลาว่าง ต่อมามีพ่อค้าคนกลางมารับซื้อถึงหมู่บ้านและต้องการจำนวนมากสมาชิกจึงขยายออกไปสู่คนทุกเพศ วัย ระดมกันในครอบครัวช่วยกันสาน เดิมจะสานเฉพาะกระติ๊บข้าวทรงกลมที่ชาวอีสานนิยมใส่ข้าวเหนียวไว้บริโภคแต่ปัจจุบันจะมีรูปทรงให้เลือกมากมาย มีทุกขนาด ใช้สำหรับเป็นของที่ระลึก ที่ใส่เครื่องประดับ เช่น ปิ่นโตไร้สาย กระติ๊บข้าวรูปหัวใจ นอกจากนั้นก็สานภาชนะต่างๆได้ทุกอย่างแล้วแต่ลูกค้าจะสั่ง โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบผลิตภัณฑ์ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนจากเครือข่าย KBO จังหวัดขอนแก่น ได้รับการคัดสรรผลิตภัณฑ์ชุมชน ระดับ ๓ ดาว ปัจจุบัน ผลิตสินค้าได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้ากำหนดความรู้/แสวงหาความรู้ (ภายใน/ภายนอก)เริ่มจากสมัยปู่ยาตายายถ่ายทอดรุ่นสู่รุ่น กระติ๊บยังไม่เป็นสินค้าแต่เป็นของฝากและของแลกเปลี่ยนกัน ต่อมาเริ่มทำเป็นการค้าแต่ราคาก็ต่ำ งานสานกระติ๊บแต่ก่อนเป็นงานหยาบๆ พอตกมาถึงลูกหลานก็ได้มีการพัฒนาต่อยอดให้ดูดีและสวยงามขึ้น และได้นำหลักวิชาการด้านการออกแบบคุณภาพของการผลิต และได้ให้ข้อมูลทางด้านการบัญชีและการตลาด จนมาถึงปี2543-2544 ทางตำบลยางคำได้ส่งกลุ่มจักรสาน ม.13เป็นกลุ่มหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์และเป็นตำบลแรกของอำเภอหนองเรือการสร้างความรู้ (ขั้นตอน/วิธีการการสร้างภูมิปัญญา)หลังจากปี2543-2544 ได้นำหลักการที่ได้จากนักวิชาการมาพัฒนารูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองและท้องถิ่นเช่นลายและรูปแบบของตัวผลิตภัณฑ์จากกระติ๊บธรรมดาให้มีค่ามากกว่ากระติ๊บ มีผลิตภัณฑ์หลายอย่างเช่น กล่องอเนกประสงค์รูปทรงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หกเหลี่ยม และแปดเหลี่ยมจนเป็นสินค้าเอกลักษณ์ของตนเองการถ่ายทอดความรู้และการใช้ประโยชน์ (ซึมซับไว้กับตนเอง หรือ เผยความรู้ให้แก่องค์กร)การถ่ายทอดความรู้ เริ่มจากการได้นำแม่ครูไปถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับลูกหลานนักเรียนเยาวชนและผู้สูงอายุตามเทศบาล รพ.สต.หลายๆรุ่นกลุ่มเป้าหมายที่ถ่ายทอดส่วนมากจะเป็นนักเรียน ผู้สูงอายุ วัยกลางคนและเยาวชนตามลำดับเพื่อให้เยาวชนหรือกลุ่มบุคคลเหล่านี้ได้สืบทอดภูมิปัญญาเอาไว้ไม่ให้หายไปกับเวลาพิกัด(สถานที่)r ข้อมูลผู้ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ปีการศึกษา 2560ชื่อผู้ศึกษา นายสุริยัน แสงวงค์ หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู (ป.บัณฑิต) รุ่น 4 รายวิชา ความเป็นครู (800 5201) เน้นศึกษา ครูกับการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น คณะ ศึกษาศาสตร์ สถานที่ศึกษา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือสถานที่ทำงาน โรงเรียนอนุบาลอภิรดี ต.จระเข้ อ.หนองเรือ จ.ขอนแก่นอาจารย์ผู้สอน1 รองศาสตราจารย์ สำเร็จ คำโมง (ครูภูมิปัญญาไทย, ศิลปินมรดกอีสาน)2 อาจารย์ ดร.พา อักษรเสือ3 อาจารย์ ดร.ธีรภัทร โคตรบรรเทา4 อาจารย์ สุชาดา ลดาวัลย์5 อาจารย์ อัจฉริยะ วงษ์คำซาว6 อาจารย์ บุญจันทร์ เพชรเมืองเลยhttps://youtu.be/Q-oAlBRVXD
คำอธิบาย :
คำสำคัญ : มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, กระติ๊บข้าว, การสานกระติ๊บข้าว
คำสำคัญ :
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน : อ่อนสา หมื่นแก้ว
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :
{{setMessages['author']}}
ผู้แต่งร่วม :   มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, สุริยัน แสงวงค์
ผู้แต่งร่วม :  
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ทั่วไป
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :  
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
ระดับชั้น :  
มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
ระดับชั้น :  
{{setMessages['relation.level']}}
ไม่พบข้อมูล
สาขาวิชาของสื่อ :   การงานอาชีพและเทคโนโลยี, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม, ศิลปะ
สาขาวิชาของสื่อ :  
{{setMessages['relation.subject']}}
ไม่พบข้อมูล
ลักษณะของสื่อ :   รูปภาพ, ใบงาน, ข้อมูลปฐมภูมิ, VDO Clip
ลักษณะของสื่อ :  
{{setMessages['relation.media']}}
URL : -
URL :
:
อ่อนสา หมื่นแก้ว, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, สุริยัน แสงวงค์. (2561). จักสารกระติ๊บข้าว, 26 มีนาคม 2562. https://oer.learn.in.th/search_detail/result/88643
อ่อนสา หมื่นแก้ว, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, สุริยัน แสงวงค์. (2561). "จักสารกระติ๊บข้าว". https://oer.learn.in.th/search_detail/result/88643. (26 มีนาคม 2562)
อ่อนสา หมื่นแก้ว, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, สุริยัน แสงวงค์. "จักสารกระติ๊บข้าว". 26 มีนาคม 2562: https://oer.learn.in.th/search_detail/result/88643.

ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง

ไม่มีเรื่องที่เกี่ยวข้อง

รีวิว : จักสารกระติ๊บข้าว

ไม่พบข้อมูลการรีวิว