ตำรับสเปรย์ฆ่าเชื้อในช่องปากจากมะแขว่น
ข้อมูลผลงาน

ตำรับสเปรย์ฆ่าเชื้อในช่องปากจากมะแขว่น is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 3.0 Thailand License.
ชื่อเรื่อง : ตำรับสเปรย์ฆ่าเชื้อในช่องปากจากมะแขว่น |
คำอธิบาย : ตำรับสเปรย์ฆ่าเชื้อในช่องปากจากมะแขว่น...ประเทศไทยมีพืชสมุนไพรท้องถิ่นมาก จึงควรส่งเสริมการวิจัยเรื่องพืชสมุนไพรให้มีความเข้มแข็งและพัฒนาให้เกิดจะเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยลดการนำเข้าผลิตภัณฑ์ประเภทยาจากต่างประเทศ ทำให้ประเทศไทยมีการพึ่งพาตัวเองได้มากยิ่งขึ้นและทำให้เข้าถึงยาสมุนไพรซึ่งมีประโยชน์และมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับยานำเข้าจากต่างประเทศได้โดยมีแนวคิดที่จะนำพืชสมุนไพรของไทยคือ "มะแขว่น" ซึ่งเป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในภาคเหนือที่นิยมใช้มะแขว่นเป็นเครื่องเทศเพื่อชูรสอาหาร นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ทางยาโดยใช้ราก เปลือก และเนื้อไม้เป็น "ยาขับลมในลำไส้" และ "ลดความดัน" ส่วนของใบ "แก้รำมะนาด" และ "แก้อาการปวดฟัน" เมล็ดนำมาสกัดเป็นน้ำมันหอมระเหย "แก้ลมวิงเวียน" "บำรุงโลหิต" และ "บำรุงหัวใจ" นอกจากนี้มะแขว่นยังรักษาฟันผุ และโรคทางช่องปากได้อีกด้วย... ติดตามการนำมะแขว่นมาช่วยด้านงานทันตกรรมได้อย่างไรกับ "ตำรับสเปรย์ฆ่าเชื้อในช่องปากจากมะแขว่น" ดำเนินการโดย ดร.ภญ.พัชรวรรณ ตันอมาตยรัตน์ หัวหน้าโครงการ "การพัฒนาผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียในช่องปากจากสารสกัดผลมะแขว่น" มหาวิทยาลัยพะเยา ได้รับการสนับสนุนจาก เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) |
สื่อสำหรับบุคคลประเภท : ทั่วไป, ผู้ปกครอง, ครู / อาจารย์, นักเรียน / นักศึกษา |
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน : พัชรวรรณ ตันอมาตยรัตน์,ดร.ภญ. |
ผู้สร้างสรรค์ร่วม/ผู้แต่งร่วม/เจ้าของผลงานร่วม : เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.), มหาวิทยาลัยพะเยา, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.), สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) |
คำสำคัญ : อาการปวดฟัน, งานวิจัย, การเกษตร, โรครำมะนาด, น้ำมันหอมระเหย, สเปรย์ฆ่าเชื้อ, ยาสมุนไพรขับลม, ทันตกรรม, เกษตรกร, โรคในช่องปาก, มะแขว่น |
URL : http://www.arda.or.th/easy-vdo_detail.php?id=1273 |
จำแนกตามระดับชั้น : ประถมศึกษาปีที่ 1 (ป. 1), ประถมศึกษาปีที่ 2 (ป. 2), ประถมศึกษาปีที่ 3 (ป. 3), ประถมศึกษาปีที่ 4 (ป. 4), ประถมศึกษาปีที่ 5 (ป. 5), ประถมศึกษาปีที่ 6 (ป. 6), มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย |
จำแนกตามสาขาวิชาของสื่อ : วิทยาศาสตร์, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม |
จำแนกตามลักษณะของสื่อ : ภาพเคลื่อนไหว, Flash Clip, Resource Review, VDO Clip |